โอกาสทางการเรียนรู้ที่ UWC Thailand
จุดเริ่มต้นของ UWC คือ นักการศึกษาชาวเยอรมัน เคิร์ธ ฮานน์ ปี พ.ศ.2505 มีแนวคิดว่านำนักเรียนที่มีหลายสัญชาติมาอยู่ร่วมกัน เรียนรู้วัฒนธรรมที่แตกต่างแล้วเขาจะเข้าใจกันและกัน
จุดเริ่มต้นของ UWC คือ นักการศึกษาชาวเยอรมัน เคิร์ธ ฮานน์ ปี พ.ศ.2505 มีแนวคิดว่านำนักเรียนที่มีหลายสัญชาติมาอยู่ร่วมกัน เรียนรู้วัฒนธรรมที่แตกต่างแล้วเขาจะเข้าใจกันและกัน
สังคมไทยในปัจจุบัน ‘ดนตรี’ เป็นอุตสาหกรรมที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งในแง่ของความหลากหลายในตัวผลงาน และการเปิดกว้างด้านแนวคิดของศิลปิน ด้วยความได้เปรียบด้านเทคโนโลยีที่มีมากกว่าในอดีต เดี๋ยวนี้เพียงแค่คุณร้องเพลงอัดคลิปลงเผยแพร่ในโลกสังคมออนไลน์
หากใครที่ผ่านไปผ่านมาบริเวณถนนเยาวราช ในตัวเมืองภูเก็ต ก็คงจะรู้สึกแปลกตากับอาคารขนาดใหญ่ ที่มีดีไซน์แนวโมเดิร์น พร้อมชื่อที่เก๋ไก๋ว่า “อาคารรู้ศึกษา รู้สึกตัว” หรือ Infinite Insight ซึ่งมี คุณวิศาล เอกวานิช นักธุรกิจใหญ่ของเมืองภูเก็ต และเป็นเจ้าของร้านหนังสือ เดอะบุ๊คส์
โรงเรียนสอนดนตรี ยามาฮ่า ภูเก็ต คือสถาบันบ่มเพาะความสามารถ และความคิดสร้างสรรค์ทางด้านดนตรีของเด็ก ด้วยหลักสูตรระดับมาตรฐานสากล ผสานแนวคิดที่ว่าไม่ต้องเล่นเป็นมาก่อน ขอแค่ใจรัก มาเรียนที่นี่เล่นดนตรีเป็นแน่นอน
เป็นเรื่องที่น่าตกใจอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว ที่มีการสำรวจพบว่าเด็กโดยเฉลี่ยทั้งประเทศไทยอ่านหนังสือน้อยลงไปกว่าเดิม จากที่เคยน้อยอย่างน่าใจหายมาแล้ว เรื่องนี้กลายเป็นวิกฤตที่ดูทีท่าว่าจะกำลังก่อตัวกลายเป็นปัญหาใหญ่โตขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งก็นับเป็นเรื่องยากที่จะแก้ไขได้ในเร็ววัน
คุณลองแบมือทั้งสองข้างขึ้น แล้วสำรวจไปทั่วฝ่ามือ คุณมองเห็นอะไรบ้าง? แน่นอนเส้นลำพังลายมือที่แตกแขนงกัน ราวกับสายน้ำคงบอกอะไรไม่ได้ เว้นเสียแต่จะมีเครื่องมือวิเศษ ที่อ่านอนาคตบนฝ่ามือได้เท่านั้น
“รู้ศึกษารู้สึกตัว” อาคารชื่อเก๋ๆ สะดุดตาด้วยการออกแบบอาคาร วันนี้มีโอกาสได้เข้าไปเยี่ยมชม สิ่งแรกที่รู้สึกได้คือ ความตั้งใจของเจ้าของอาคาร คุณวิศาล เอกวานิช ที่ให้ความสำคัญเรื่องการศึกษา
ปัจจุบันการแข่งขันเพื่อสอบเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยนั้น ทุกคนต่างคาดหวังว่าจะเอนท์ฯให้ติดในมหาวิทยาลัยและคณะที่ต้องการ เพื่อความก้าวหน้าในอนาคต ปัจจัยสำคัญ คือ การแข่งขันของนักเรียนเหล่านี้ นั่นคือการไปเรียนกวดวิชา ดังนั้นจึงเป็นโอกาสที่โรงเรียนกวดวิชาทั้งหลายจะเติบโตขึ้น
ทัศนคติของคนไทยที่มีต่อเรื่อง “การศึกษาต่อต่างประเทศ” ก็คงมองที่ความโก้หรู ซึ่งเกิดจากคนรวยมีเงินล้นเหลือจนสามารถจ่ายเงินมากเท่าไหร่ก็ได้ เพื่อให้ลูกหลานมีดีกรี “นักเรียนนอก” แต่แท้จริงแล้วนั่นอาจจะเป็นลักษณะจำเพาะของคนเพียงบางกลุ่ม