ศาลเจ้ากวนอู นาบอน สักการะเทพเจ้าแห่งความซื่อสัตย์ โชคลาภ บารมี
อ๊ามกวนอูนาบอน หรือศาลเจ้ากวนอูบ้านนาบอน เป็นศาลเจ้าเก่าแก่อายุร้อยกว่าปี มีประวัติมายาวนาน
อ๊ามกวนอูนาบอน หรือศาลเจ้ากวนอูบ้านนาบอน เป็นศาลเจ้าเก่าแก่อายุร้อยกว่าปี มีประวัติมายาวนาน
“ภูเก็ตเมืองทอง เนืองนองด้วยทรัพย์นานา แร่ยางผักปลา เนืองพนาสง่าศิลป์ ชาวเมืองหญิงชายยิ้มพรายร่าเริงอาจินต์ ศิลธรรมประจำถิ่น เมตตาหลั่งรินและสามัคคี นามหาดสุรินทร์ แดนดินราไวย์ชื่อดัง ร่มเย็นชวนนั่ง ยอดเขารังเมื่อราตรี แพรวพราวพโยม แสงทองชาติไทยแจ่มศรี เสียงยานยนต์ระคนถี่ ถิ่นแดนคนดี ขึ้นชื่อลือไกล
ศาลเจ้าปุ้นเถ้าก๋งในจังหวัดภูเก็ต ที่เคยทราบจะมีที่เขาป่าตอง หากแต่วันนี้ถือเป็นโอกาสที่ดียิ่ง เหมือนมีอะไรดลใจให้ทีมงาน phuketindex.com ได้มีโอกาสสะดุดตากับอ๊ามเล็กๆ แห่งนี้… ไม่ผิดหวังเลยที่ทางทีมงานจะแวะสักการะ ประทับใจมากจนต้องขอเก็บภาพมาฝากผู้อ่านกันค่ะ
ในทุกๆ ปี “เทศกาลถือศีลกินผัก” ของจังหวัดภูเก็ต เป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว และสื่อมวลชนจากทั่วโลก ที่ร่วมเป็นสักขีพยานถึงพลังศรัทธาอันเข้มข้นของ “คนภูเก็ต” ที่มีต่อประเพณีนี้ อย่างไม่เคยจืดและจางลงไปเลย ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหน
ศาลเจ้ายกเค่เก้ง เป็นชื่อสำนักของศาลเจ้าเฉ่งจุ้ยโจวสู่กง หรือจอสู่กง เป็นที่รู้จักของชาวภูเก็ต ในชื่อว่า ศาลเจ้าซอยพะเนียง หรือศาลเจ้าสามกองใน ซึ่งเดิมทีพื้นที่บริเวณศาลเจ้าในยุคแรก ตั้งอยู่ในนาที่ลุ่ม มีหล่มดินโลน ด้านหน้าของศาลเจ้าปัจจุบัน ในอดีตตั้งอยู่บนโคกนาใต้ต้นไทร แต่ในปัจจุบันพื้นที่ซอยพะเนียง คือชุมชนที่มีการขยายตัวของสถานที่พักอาศัยจำนวนมาก
เทศกาลกินเจหรือการถือศีลกินผัก เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีนที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย แต่เมื่อถึงช่วงเทศกาลถือศีลกินผัก จังหวัดที่สร้างสีสันมากที่สุดให้กับเทศกาลก็คงจะหนีไม่พ้น จังหวัดภูเก็ต ที่นี่เทศกาลกินเจจะจัดอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งจะอยู่ในช่วงเดือนกันยายนและ ตุลาคม นับเป็นช่วงเวลา 9 วัน 9 คืน ที่ชาวภูเก็ตเค้าใส่ชุดขาวและเห็นธงเหลืองซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการกินเจแทบทั้งเมือง
ศาลเจ้าเจ่งอ๋อง เป็นศาลเจ้าของเทพเจ้าหม่าอู่หวาง หรือไต้อ๋องแห่งป่าเขาเขียว เดิมทีศาลเจ้านี้เป็นที่ดินของตระกูลทองตัน และได้ขายที่ต่อให้ตระกูลบุญสูง นับเป็นศาลเจ้าที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของภูเก็ต พื้นที่โดยรอบของศาลเจ้ากว้างขวาง มีโรงเจ และพื้นที่สำหรับประกอบพิธีกรรมต่างๆ
ศาลเจ้าจ้อสู่ก๋งนาคา ใช้ชื่อสำนักว่า “ฮุนจ่องอ๊าม” แปลว่า “อารามเมฆคล้อย” ศาลเจ้าเริ่มต้นจากชาวจีนฮกเกี้ยน อพยพเข้ามาเป็นกรรมกรเหมืองแร่ดีบุก ในช่วงรัชสมัยราชการที่ 4 จนถึงต้นรัชการที่ 5 เป็นจำนวนมาก ซึ่งต่างก็นำสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่พวกเขาเคารพ
ศาลเจ้ากวนอู (บ้านนาบอน) ตั้งอยู่เลขที่ 64/2 หมู่ที่ 1 ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต ตามหลักฐานอ้างอิงศาลเจ้าแห่งนี้มีอายุจากอดีตสู่ปัจจุบันประมาณ 100 กว่าปี โดยได้รับการเล่าขานจากผู้อาวุโสว่า เดิมสถานที่แห่งนี้เป็นลำคลองอยู่ใกล้ทะเล ได้มีชาวจีนนั่งเรือสำเภามาจากประเทศจีน
ศาลเจ้าชิดเชี่ยวเนียวม่า หรือ ศาลเจ้าชิดแชเนียวม่า ตั้งอยู่ ณ บ้านชิดเชี่ยว หมู่ที่ 5 ตำบลวิชิต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ติดถนนวิชิตสงครามฝั่งตะวันตก ใกล้แมคโคร ศาลเจ้าชิดเชียวเป็นศาลเจ้าที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของภูเก็ต มีอายุ 200 กว่าปี
ศาลเจ้า…ถ้าเอ่ยถึงคำนี้ หลายๆคนคงนึกถึงภาพของสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมจีน ซึ่งภายในก็จะเต็มไปด้วยรูปปั้นของเทพเจ้าต่างๆ เพื่อให้ผู้คนได้เข้ามากราบไหว้สักการะเป็นสิริมงคลกับชีวิต แต่ยังมีอีกสถานที่แห่งหนึ่งที่ถูกเรียกว่าศาลเจ้า และสร้างขึ้นมาเป็นเวลานานกว่าร้อยปี แต่ศาลเจ้าแห่งนี้ “ไม่มีพระ”
ศาลเจ้าแสงธรรม หรือในภาษาจีนฮกเกี้ยนเรียกว่าศาลเจ้าเต่งก้องต๋อง หรือศาลเจ้าซิงเจียกอง เป็นศาลเจ้าเก่าแก่อีกแห่งหนึ่งของภูเก็ต ซึ่งมีอายุนับร้อยปี ตั้งอยู่ในซอยเล็กๆ บนถนนพังงา ตามประวัตินั้น ศาลเจ้าแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2434
ศาลเจ้าพระโพธิสัตว์กวนอิน เขารัง (ซำเซ้จูฮุด) ในปี พ.ศ.2544 ผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมแรงร่วมทำบุญจัดสร้างศาลเจ้า โดยมี นายสุวัชชัย เอกชัยศิริ ประธานกรรมการ บริษัท เอกชัยศิริ จำกัด เป็นผู้ริเริ่ม
หลังจากที่ได้มีคณะงิ้วเดินทางมาจากเมืองจีน มาเปิดการแสดงที่บ้านกะทู้ แต่แล้วผู้แสดง ในคณะงิ้วเกิดเจ็บป่วยขึ้น ทำให้คณะงิ้วคิดไว้ว่า พวกตนละเลย ไม่ได้ประกอบพิธีกินผัก ซึ่งเคยกระทำเป็นประจำทุกปีที่เมืองจีน จึงตกลงกัน ประกอบพิธีกินผักขึ้นที่โรงงิ้วนั้นเอง
ศาลเจ้าจ้ออ๋อง หรืออ๊ามไถ้หงวนต๋อง เป็นศาลเจ้าบูชาบรรพบุรุษตระกูลแซ่อ๋องสายฮกเกี้ยน จากตงอี่จุนอ๋อง หรือจ้ออ๋อง ผู้เป็นข้าหลวงมณฑลฮกเกี้ยนในสมัยราชวงศ์ถัง ระหว่าง พ.ศ. 1161 – 1450
ศาลเจ้าแม่ย่านาง หรือ ศาลเจ้าซัมเทียนเฮวกึ๋ง ตั้งอยู่บริเวณถนนกระบี่ ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ.2396 โดยหลิ่มบุนซุ่น ชาวภูเก็ตนิยมไปนมัสการแม่ย่านางเรือ มีความศักดิ์สิทธิ์ด้านการเดินเรือทางทะเลทั่วไป สามารถปัดเป่าให้พ้นภัยวิบัติได้
ภาพ : สิริพงษ์ มุกดา การก่อสร้างศาลเจ้าหลิมฮู้ไท้ซู่ ไม่ปรากฏว่าเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.ใด ทราบแต่ว่า มีผู้มีจิตศรัทธา ชื่อหลวงสุนทรจีนประชา บริจาคที่ดิน ประมาณเกือบหนึ่งไร่ พร้อมทำการสร้างอ๊ามถวายให้ พร้อมทั้งมอบ องค์พระไท้ซู่ก้อง และองค์พระอื่นๆ ประดิษฐานไว้ในศาลเจ้า หลังจากนั้น
เดิมชาวจีนที่มาทำเหมืองแร่ดีบุกในจังหวัดภูเก็ต ได้อัญเชิญรูปแกะสลักท่านจ้อซือก้งมาจากเมืองจีน ซึ่งได้นำไปประดิษฐานไว้ที่ศาลเจ้าเล็กๆ ด้านหลังโรงแรมถาวร ต่อมาได้เกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ศาลเจ้าขึ้น
ศาลเจ้าบางเหนียวเป็นที่เคารพนับถืออย่างมากของชาวภูเก็ต มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าศาลเจ้าต่าวโบ้เก็ง หรือฉ่ายตึ๋ง ซึ่งอยู่คู่เมืองภูเก็ตมามากกว่า 100 ปี แล้ว มีผู้นิยมมาสักการะเพื่อความเป็นสิริมงคลอยู่เสมอ โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลถือศีลกินผัก มีผู้ที่มาร่วมงานศาลเจ้าแห่งนี้มากมายทุกปี
เรื่อง : วรรณฤดี ดวงเกิด ภูเก็ตนอกจากเป็นเมืองท่องเที่ยวแล้ว ที่นี่ยังมีแหล่งอารยธรรมและวัฒนธรรมอีกมากมายอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดและเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปนั่นก็คือ ศาลเจ้า หรือที่คนภูเก็ตเรียกว่า “อ๊าม” นั่นเอง